วันพฤหัสบดีที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2558
วันอังคารที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2558
ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ (Loop)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ (Loop)
คำสั่งในกลุ่มนี้ เป็นอีกกลุ่มหนึ่งที่จะต้องใช้งานบ่อยครั้งที่สุด
ไม่ว่าคุณจะพัฒนาแอพพลิเคชันด้วยภาษาอะไรก็ตาม
เพราะมีหน้าที่สำหรับสั่งให้ VB ประมวลผลซ้ำกลุ่มคำสั่งเดิม
วนไปเรื่อยๆ จนกว่าจะตรงกับเงื่อนไข ที่คุณต้องการ
และยังมีหน้าที่สำหรับลดขั้นตอนในการเขียนโค๊ดคำสั่ง
*********************************************************************************
คำสั่งที่ใช้ในการวนซ้ำ (Loop)
1. จำนวนรอบที่ซ้ำตายตัว มีลูปFor
. . . Next
( ตีความหมายให้เข้าใจง่ายคือ
ทำซ้ำตามจำนวนรอบที่กำหนด )
2. จำนวนรอบที่วนซ้ำไม่ตายตัว มีลูปDo While . . . Loop ( ตีความหมายให้เข้าใจง่ายคือ เปรียบเทียบค่าก่อน แล้วเมื่อเป็นจริงจะทำซ้ำ )
Do Loop . . . While ( ตีความหมายให้เข้าใจง่ายคือ ทำก่อน แล้วเปรียบเทียบค่า หากเป็นจริงจะทำซ้ำ )
Do Until . . . Loop ( ตีความหมายให้เข้าใจง่ายคือ เปรียบเทียบค่าก่อน แล้วเมื่อเป็นจริงจึง จะทำซ้ำ )
Do Loop . . . Until ( ตีความหมายให้เข้าใจง่ายคือ ทำก่อน แล้วเปรียบเทียบค่า หากเป็นจริง จะทำซ้ำ )
2. จำนวนรอบที่วนซ้ำไม่ตายตัว มีลูปDo While . . . Loop ( ตีความหมายให้เข้าใจง่ายคือ เปรียบเทียบค่าก่อน แล้วเมื่อเป็นจริงจะทำซ้ำ )
Do Loop . . . While ( ตีความหมายให้เข้าใจง่ายคือ ทำก่อน แล้วเปรียบเทียบค่า หากเป็นจริงจะทำซ้ำ )
Do Until . . . Loop ( ตีความหมายให้เข้าใจง่ายคือ เปรียบเทียบค่าก่อน แล้วเมื่อเป็นจริงจึง จะทำซ้ำ )
Do Loop . . . Until ( ตีความหมายให้เข้าใจง่ายคือ ทำก่อน แล้วเปรียบเทียบค่า หากเป็นจริง จะทำซ้ำ )
ในการเขียนโปรแกรมคำสั่งนี้ ต้องระบุนิพจน์ให้ได้ ซึ่งกำหนดไว้ 3 นิพจน์ดังนี้
1.นิพจน์กำหนดค่าเริ่มต้น
2. จำนวนรอบ
3. ช่วงการเพิ่มค่า
**************************************************************************************************
**************************************************************************************************
Clip ตัวอย่างการเขียนคำสั่ง
**************************************************************************************************
ตัวอย่างคำสั่ง For . . . Next
รูปแบบ
For 1.นิพจน์กำหนดค่าเริ่มต้น
To 2. จำนวนรอบ [Step 3. ช่วงการเพิ่มค่า]
Next
* ในกรณีที่ไม่มีการกำหนดการเพิ่มค่าให้กับนิพจน์ที่ 3 คำสั่งจะเพิ่มครั้งละ 1
ตัวอย่างที่ 1
For i = 1 To 10
Print i
Print i
Next
ตัวอย่างที่ 2 นำมาเขียนในโปรแกรม VB
Dim first, last As Integer
first = first1.Text
last = last1.Text
ListBox1.Items.Clear()
For first = first To last
ListBox1.Items.Add(first)
Next
ตัวอย่างดังภาพค่าที่ได้ จะแสดงผลใน ListBox คือ 1-10
**************************************************************************************************
Do While . . . Loop
(เปรียบเทียบค่าก่อน แล้วเมื่อเป็นจริงจะทำซ้ำ )
•รูปแบบ
(1)
นิพจน์กำหนดค่าเริ่มต้น
Do While (2) นิพจน์ตรวจสอบเงื่อนไข
(3) นิพจน์เพิ่มค่า
Loop
ตัวอย่างที่ 1
A = 0
Do While A <
5
A = A + 1
Loop
ตัวอย่างที่ 2 นำมาเขียนในโปรแกรม VB
Dim first, last As Integer
first = first1.Text
last = last1.Text
ListBox1.Items.Clear()
Do While (first < last)
ListBox1.Items.Add(first & " ")
first = first + 1
Loop
ตัวอย่างดังภาพค่าที่ได้ จะแสดงผลใน ListBox คือ 1-9 เนื่องจาก นิพจน์ที่ 2 ตรวจสอบเงื่อนไขว่า first < last น้อยกว่า จริงจะทำการเพิ่มค่าครั้งละ 1 จนถึง 10 ตรวจสอบ 10<10 เป็นเท็จจึงหยุดออกจากการวนซ้ำ
**************************************************************************************************
Do Loop . . . While
(ทำการคำนวณแล้วจึงเปรียบเทียบค่า เมื่อเป็นจริงจะทำซ้ำ )
•รูปแบบ
(1)นิพจน์กำหนดค่าเริ่มต้น
Do
(2)นิพจน์เพิ่มค่า
Loop While (3)นิพจน์ตรวจสอบเงื่อนไข
ตัวอย่างที่ 1
A = 0
Do
A = A + 1
Loop While A < 5
ตัวอย่างที่ 2 นำมาเขียนในโปรแกรม VB
Dim first, last As Integer
first = first1.Text
last = last1.Text
ListBox1.Items.Clear()
Do
first = first + 1
ListBox1.Items.Add(first & " ")
Loop While (first < last)
สังเกตุว่า ค่าที่ได้จะแสดงค่าเริ่มต้นที่ 2-10 เป็นเพราะว่า โปรแกรมเริ่มทำงานคำนวณก่อน แล้วจึงเข้าสู่ นิพจน์ที่ 2 ตรวจสอบเงื่อนไข
**************************************************************************************************
Do
Until . . . Loop
เปรียบเทียบค่าก่อน แล้วเมื่อเป็นเท็จจะทำซ้ำจนกระทั่งเป็นจริงจึงจะหยุดทำซ้ำ
•รูปแบบ
(1)
นิพจน์กำหนดค่าเริ่มต้น
Do Until (2) นิพจน์ตรวจสอบเงื่อนไข
(3) นิพจน์เพิ่มค่า
Loop
ตัวอย่างที่ 1
A = 0
Do Until A = 5
A = A + 1
Loop
ตัวอย่างที่ 2 นำมาเขียนในโปรแกรม VB
Dim first, last As Integer
first = first1.Text
last = last1.Text
ListBox1.Items.Clear()
Do Until first = last
ListBox1.Items.Add(first & " ")
first = first + 1
Loop
จากภาพเป็นการแสดงผลเมื่อทำการคลิกปุ่ม
**************************************************************************************************
Do Loop . . . Until
ทำการคำนวณก่อนจึงจะเปรียบเทียบค่า เมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จจะทำซ้ำจนกระทั่งเป็นจริงจึงจะหยุดทำซ้ำ
•รูปแบบ
1)นิพจน์กำหนดค่าเริ่มต้น
Do
(2)นิพจน์เพิ่มค่า
Loop Until (3)นิพจน์ตรวจสอบเงื่อนไข
ตัวอย่างที่ 1
A = 0
Do
A = A + 1
Loop Until A
> 5
ตัวอย่างที่ 2 นำมาเขียนในโปรแกรม VB
Dim first, last As Integer
first = first1.Text
last = last1.Text
ListBox1.Items.Clear()
Do
first = first + 1
ListBox1.Items.Add(first & " ")
Loop Until first = last
สังเกตุจากการแสดงผลเริ่มต้นที่ 2-11 เนื่องจากโปรแกรมเริ่มทำการคำนวณก่อนจึงจะเปรียบเทียบ
ส่วนการแก้โจทย์ปัญหาอัลกอริทึมหัวข้อถัดไปนะครับ
ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือกหรือแบบมีเงื่อนไข
ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือกหรือแบบมีเงื่อนไข
ตัวอย่างการเขียนโปรแกรม การคำนวณ อย่างง่ายๆ
ตัวอย่างการเขียนโปรแกรม การคำนวณ อย่างง่ายๆ
ตามขั้นตอน 5 ขั้นในการเขียนโปรแกรม
2. กำหนดคุณสมบัติ (Proterty)ต่างๆ ของฟอร์ม และออบเจ็คต่างๆ
ออกแบบหน้าจอของโปรแกรม และการกำหนดคุณสมบัติ (Proterty)
3. เขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมการทำงาน
4. หากเกิดข้องผิดพลาด หรือทำงานไม่ตรงกับที่ต้องการ ให้ค้นกาข้อผิดพลาดแล้วทำการแก้ไขให้ถูกต้อง
---------------------------------------------
5. ทำการคอมไพล์โปรเจ็คให้เป็นไฟล์โปรแกรมที่สามารถรันได้
รู้จักส่วนประกอบของโปรแกรม Visual Basic 2008 กันก่อน
ส่วนประกอบต่างๆของโปรแกรม Visual Basic 2008
ก่อนที่จะเริ่มทำการเขียนโปรแกรมควรที่จะศึกษาส่วนต่างๆของโปรแกรมกันเสียก่อน
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมด้วย VB2008
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมด้วย VB2008
2. กำหนดคุณสมบัติ (Proterty)ต่างๆ ของฟอร์ม และออบเจ็คต่างๆ
3. เขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมการทำงาน
4. หากเกิดข้องผิดพลาด หรือทำงานไม่ตรงกับที่ต้องการ ให้ค้นกาข้อผิดพลาดแล้วทำการแก้ไขให้ถูกต้อง
5. ทำการคอมไพล์โปรเจ็คให้เป็นไฟล์โปรแกรมที่สามารถรันได้
หลักการเขียนโปรแกรม ด้วย VB 2008
หลักการเขียนโปรแกรม ด้วย VB 2008
- เป็นการเขียนโปรแกรมที่ตอบสนองต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น (Event Driven Programming)
- การเขียนคำสั่งกำหนดให้โปรแกรมทำงานในสิ่งที่เราต้องการตามเหตุการณ์ (Event) ที่เกิดขึ้น เช่น ผู้ใช้กดคีย์บอร์ด กดปุ่ม เลือก เมนู
- ตามแนวคิดการเขียนโปรแกรมแบบ OOP จะมองแต่ละส่วนของโปรแกรมเป็น ออบเจ็กต์ (Object) เช่น โปรแกรม Calculator
- ออบเจ็กต์แต่ละตัวมีคุณสมบัติ หรือ พร็อพเพอร์ตี้ (Property) เป็นของตัวเอง ซึ่งแต่ละคุรสมบัติสามารถกำหนดค่าให้ได้ เช่น สีของโปรแกรม สีของเมนู
- ในการพัฒนาโปรแกรม สามารถกำหนด (Property)ได้ 2 แบบ คือ
* กำหนดที่ พร็อพเพอร์ตี้ (Property Window) ตอนออกแบบโปรแกรม
* กำหนดขณะที่แอพพลิเคชันเริ่มทำงานไปแล้ว โดยกำหนดค่าไว้ใน Code Editor
- ออบเจ็กต์แต่ละตัวมีความสามารถ หรือเมธอด (Method) เป็นของตัวเอง เช่น โปรแกรม Calculator สามารถบวก ลบ คูณ หารได้
- ใน VB 2008 มีอบบเจ็กต์ให้ใช้งานอยู่ 2 ประเภทคือ
* คอนโทรล (Control) เป็นออบเจ็กต์ที่สามารถมองเห็นได้ เช่น ปุ่ม (Button) ช่องกรอกข้อความ (TextBox) แสดงข้อความ(Label) กล่องรูปภาพ(PictureBox)
* คอมโพเนนต์ (Component) เป็นออบเจ็กต์ที่เรามองไม่เห็นเวลาที่แอพพลิเคชั่นทำงาน (ทำงานอยู่เบื้องหลัง) เช่น ตัวจัดการด้านเวลา (Timer)
- เป็นการเขียนโปรแกรมที่ตอบสนองต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น (Event Driven Programming)
- การเขียนคำสั่งกำหนดให้โปรแกรมทำงานในสิ่งที่เราต้องการตามเหตุการณ์ (Event) ที่เกิดขึ้น เช่น ผู้ใช้กดคีย์บอร์ด กดปุ่ม เลือก เมนู
- ตามแนวคิดการเขียนโปรแกรมแบบ OOP จะมองแต่ละส่วนของโปรแกรมเป็น ออบเจ็กต์ (Object) เช่น โปรแกรม Calculator
- ออบเจ็กต์แต่ละตัวมีคุณสมบัติ หรือ พร็อพเพอร์ตี้ (Property) เป็นของตัวเอง ซึ่งแต่ละคุรสมบัติสามารถกำหนดค่าให้ได้ เช่น สีของโปรแกรม สีของเมนู
- ในการพัฒนาโปรแกรม สามารถกำหนด (Property)ได้ 2 แบบ คือ
* กำหนดที่ พร็อพเพอร์ตี้ (Property Window) ตอนออกแบบโปรแกรม
- ออบเจ็กต์แต่ละตัวมีความสามารถ หรือเมธอด (Method) เป็นของตัวเอง เช่น โปรแกรม Calculator สามารถบวก ลบ คูณ หารได้
- ใน VB 2008 มีอบบเจ็กต์ให้ใช้งานอยู่ 2 ประเภทคือ
* คอนโทรล (Control) เป็นออบเจ็กต์ที่สามารถมองเห็นได้ เช่น ปุ่ม (Button) ช่องกรอกข้อความ (TextBox) แสดงข้อความ(Label) กล่องรูปภาพ(PictureBox)
* คอมโพเนนต์ (Component) เป็นออบเจ็กต์ที่เรามองไม่เห็นเวลาที่แอพพลิเคชั่นทำงาน (ทำงานอยู่เบื้องหลัง) เช่น ตัวจัดการด้านเวลา (Timer)
การเข้าสู่โปรแกม Microsoft.Visual Studio 2008 เบื้องต้น
การเข้าสู่โปรแกม Microsoft.Visual Studio 2008 เบื้องต้น
1. Start > Programs
2. Microsoft Visual Studio 2008
3. Click เลือก Microsoft Visual Studio 2008
2. Click Start Visual Studio
เลือก Creale Project
การติดตั้ง Microsoft Visual Studio 2008
ติดตั้งโปรแกรม VS 2008
1. double click ไฟล์ autorun.exe
2. click ที่ Install Visual Studio 2008
3. Next
4. click เลือก I have read and accept the license terms. > Next
5. click Full Installs features for the product
> Install
รอการติดตั้งตามลำดับ
จนมีเครื่องหมายถูกสีเขียวจนครบ
เมื่อโปรมแกรมติดตั้งเส็ดจะปรากฏ ดังรูป
> click Finish
ขอขอบคุณข้อมูลดีๆจาก http://onkaveena.blogspot.com/
สมัครสมาชิก:
บทความ
(
Atom
)